#รับปิดงบบริษัท #รับปิดงบหจก. #รับปิดงบปี2559 #รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา #รับยื่นภาษีร้านค้า
สงสัยการยื่นงบการเงิน :: อัตราค่าปรับการส่งงบการเงินล่าช้า ก็ทักมาเรา "ชลธี บริสซิเนส กรุ๊ป" พร้อมให้คำปรึกษา
กำหนดเวลายื่นงบการเงิน
1) ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด นิติบุคคลที่ตั้งตามกฎหมายของต่างประเทศที่
ประกอบ ธุรกิจในประเทศไทย และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากรต้องยื่นงบการเงินภายใน 5 เดือน
นับแต่วันปิดบัญชี ดังนั้นงบการเงินที่มีรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พฤษภาคมของปีถัดไป
2) บริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด ต้องจัดทำงบการเงินขึ้นเพื่อให้ผู้สอบบัญชี รับอนุญาต
ตรวจสอบ รับรอง แล้วจึงนำเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ โดยจะต้องจัดให้มี การประชุมเพื่ออนุมัติ
งบการเงิน ภายใน 4 เดือน นับแต่วันปิดบัญชี ดังนั้นรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคมของทุกปี
จะต้องจัด ประชุมภายในวันที่ 30 เมษายนของปีถัดไป มิฉะนั้นจะมีความผิดโทษปรับไม่ เกิน
20,000 บาท
งบการเงินที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมแล้ว จะต้องนำไปยื่นภายใน 1 เดือนนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติ
จากที่ประชุมใหญ่
ตัวอย่าง
1.ประชุมเมื่อวันที่ 31 มีนาคม จะต้องนำไปยื่นภายในวันที่ 30 เมษายนของเดือนถัดไป
2.ประชุมเมื่อวันที่ 20 เมษายน จะต้องนำไปยื่นภายในวันที่ 20 พฤษภาคมของเดือนถัดไป
3.ประชุมเมื่อวันที่ 30 เมษายนจะต้องนำไปยื่นภายในวันที่ 31 พฤษภาคมของเดือนถัดไป
เอกสารที่ต้องการใช้ในการยื่นงบการเงิน
กิจการที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร
1) แบบนำส่งงบการเงิน (แบบ ส.บช.3) จำนวน 3 ฉบับ
2) งบการเงิน จำนวน 2 ชุด
3) สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นในวันประชุมใหญ่อนุมัติงบการเงินของบริษัทจำกัด จำนวน 1 ชุดจะต้องยื่น
ภายใน 14 วัน นับแต่วันที่ประชุมใหญ่
***กรณีมิได้ยื่นพร้อมกับงบการเงิน จะต้องมีหนังสือนำส่งลงนามโดยกรรมการผู้มีอำนาจประทับ
ตรา (ถ้ามี) ด้วยสำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัดจะต้องลงนามรับรองโดยกรรมการอย่างน้อย
1 คน
4) สำเนารายงานการประชุมเฉพาะที่เกี่ยวกับการอนุมัติงบการเงิน การจัดสรรกำไร และการแบ่งเงินปันผล
(กรณีเป็นบริษัทมหาชนจำกัด) จำนวน 1 ชุด
5) รายงานประจำปี (กรณีเป็นบริษัทมหาชนจำกัด) จำนวน 1 ชุด
กิจการที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค
ยื่นเอกสารเช่นเดียวกับนิติบุคคลที่ตั้งในกรุงเทพมหานคร แต่ต้องเพิ่มเอกสารตาม 1-5 (แล้วแต่ประเภท
กิจการ) อีกอย่างละ 1 ชุด
*การกรอกแบบนำส่งงบการเงิน (ส.บ.ช.3)
1.ให้กรอกข้อความลงในชื่อว่างหรือทำเครื่องหมายถูกในช่องสี่เหลื่อมตามที่ประกอบอยู่จริงเท่านั้น
2.ให้ระบุประเภทธุรกิจและระบุสินค้า/บริการที่ประกอบกิจการอยู่ในปัจจุบันให้ตรงตามความเป็น
จริง เนื่องจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้าจะให้เป็นข้อมูลเพื่อเผยแพร่ธุรกิจของท่านทั้งทาง
อินเตอร์เน็ต และตามที่มีผู้ขอข้อมูล
3.ผู้ทำบัญชีต้องลงชื่อในแบบนำส่งด้วย โดยผู้ทำบัญชีต้องเป็นผู้ที่ได้แจ้งรายชื่อต่อกรมพัฒนาธุรกิจ
การค้าไว้แล้วว่าเป็นทำบัญชีของกิจการที่นำส่งงบการเงิน
4.ผู้มีอำนาจทำการแทนกิจการต้องลงลายมือชื่อในแบบด้วยตนเอง จะมอบอำนาจให้ผู้ใดลงลายมือ
แทนมิได้ และประทับตรา (ถ้ามี) ด้วย
รายละเอียดในงบการเงิน ประกอบด้วย
1.ผู้มีอำนาจทำการแทนกิจการจะต้องลงลายมือชื่อและประทับตรา (ถ้ามี) ในงบดุลและงบกำไรขาดทุน
ทุกหน้าส่วนเอกสารงบการเงินอื่น ให้ผู้มีอำนาจทำการแทนกิจการอย่างน้อยหนึ่งคนลงลายมือชื่อรับรอง
2.งบการเงินของบริษัทจำกัดให้ระบุข้อความไว้ในหน้างบดุลด้วยกว่า "งบการเงินได้รับอนุมัติจากที่
ประชุมผู้ถือหุ้นครั้งใด เมื่อวันเดือนปีใด" เว้นแต่กรณีส่งสำเนารายงานการประชุมดังกล่าวมาพร้อมกับ
การยื่นงบการเงิน
3.งบการเงินของนิติบุคคลที่ตั้งในกรุงเทพมหานครจะต้งมีต้นฉบับที่ผู้สอบบัญชีลงลายมือชื่อด้วยหมึก
อย่างน้อย 1 ชุด กรณีตั้งในภูมิภาคต้องมีต้นฉบับอย่างน้อย 2 ชุด สำเนาที่นำส่งพร้อมต้นฉบับจะต้อง
รับรองสำเนาถูกต้องโดยผู้มีอำนาจทำการแทนกิจการและประทับตรา (ถ้ามี) ในเอกสารทุกหน้า
4.ให้หมายเหตุในงบดุลหรือแจ้งในแบบ ส.บช.3ว่าไม่ประกอบกิจการ หากธุรกิจมิได้ประกอบกิจการใน
รอบปีบัญชีที่นำส่งงบการเงิน
การแจ้งรายชื่อธุรกิจที่ผู้สอบบัญชีลงลายมือชื่อรับรองงบการเงิน
งบการเงินที่ยื่นตอ่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เมื่อกรมฯได้รับงบการเงินดังกล่าวแล้วเจ้าหน้าที่จะดำเนิน
การ ตรวจสอบว่าเป็นนิติบุคคลที่ผู้สอบบัญชีได้แจ้งชื่อไว้ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ตามประกาศ ก.บช.
ฉบับที่ 44 (พ.ศ.2544) หรือไม่ หากไม่ปรากฎชื่อกรมฯ จะทำการแจ้งนิติบุคคลให้ดำเนินการให้ถูกต้อง
ภายใน 2 เดือน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง จึงจะถือว่าได้ยื่นงบการเงินไว้โดยถูกต้องแล้วนับตั้งแต่วันที่ยื่น
ครั้งแรก หากไม่ดำเนินการภายในระยะเลาดังกล่าวจะถือว่าไม่ได้ยื่นงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
ย่อมเป็นความผิดมีโทษปรับตามกฏหมาย
จึงขอให้ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีหรือผู้ที่เกี่ยวข้องว่าผู้สอบบัญชีได้แจ้งรายชื่อ
ธุรกิจไว้แล้วหรือไม่หรือตรวจสอบได้ที่ www.dbd.go.th หากยังมิดได้แจ้งขอให้ดำเนินการแจ้งรายชื่อ
ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ก่อนำมายื่น
สถานที่ยื่นงบการเงิน
กิจการที่ตั้งในกรุงเทพมหานคร ยื่นที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ถนนนนทบุรี 1 ตำบลบางกระสอ อำเภอ
เมือง จังหวัดนนทบุรี 1100
กิจการที่ตั้งในต่างจังหวัด ยื่นที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า หรือ สำนัหงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดที่
ตั้งกิจการ
การจัดส่งทางไปรษณีย์
ส่ง ณ ที่ทำการไปรษณีย์ในกรุงเทพฯและไปรษณีย์นนทบุรี ถนนติวานนท์ ถึงกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
โดยสามารถเลือกใช้วิธีไปรษณีย์รับประกันทั้งไปและกลับ และแนบซองติดแสตมป์จ่าหน้าซองกลับถึงตัวผู้
รับได้ 2 แบบคือ
1.ฝากส่งงบการเงิน จำนวน 1 ชุด ชำระค่าบริการ 65 บาท หากเอกสารสูญหาย/เสียหายจะได้
ชดใช้เป็นเงิน 500 บาท ทั้งไปและกลับ หรือ
2.ฝากส่งงบการเงิน จำนวนไม่เกิน 5 ชุดส่งในซอง/กล่องเดียวกัน ชำระค่าบริการ 105 บาท
ซึ่งหากเอกสารสูญหาย/เสียหาย จะได้รับชดใช้เป็นเงิน 700 บาท สำหรับขาไป และ 500 บาท
สำหรับขากลับ
กรณีส่งถึงสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดสามารถเลือกส่งได้เฉพาะไปรษณีย์ลงทะเบียน
ตอบรับ หรือพัสดุไปรษณีย์หรือไปรษณีย์ด่วนพิเศษ (EMS) เท่านั้น แต่ต้องแนบซองติด
แสตมป์จ่าหน้าซองกลับเช่นเดียวกัน
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จะถือว่ากิจการได้ยื่นงบการเงินตั้งแต่วันที่ประทับบนซองจดหมาย
/กล่อง ณ ที่ทำการไปรษณีย์ต้นทาง
........................................................................................................................................................
คำเตือน
1) เพื่อความสะดวกและรวดเร็ว ขอให้นิติบุคคลที่มีหน้าที่ต้องยื่นงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
หรือสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดรีบดำเนินการจัดส่งงบการเงินก่อนเดือนพฤษภาคม หากนำมา
ยื่นในช่วงปลายเดือนพฤษภาคมอาจมีปัญหาไม่ได้รับความสะดวกและรวดเร็วเท่าที่ควร หรือจัดส่งทาง
ไปรษณีย์จะได้รับความสะดวกกว่า
2) กรมพัฒนาธุรกิจการค้าจะได้รับฝากงบการเงินที่ยื่นครั้งละจำนวนมากของสำนักบริการรับทำบัญชีอีกต่อไป
3) ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีไม่ยื่นงบการเงินหรือยื่นล่าช้าเกินกำหนดเวลามีโทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท และ
ปรับผู้มีอำนาจทำการแทนกิจการอีกไม่เกิน 50,000 บาท ด้วย ทั้งนี้ กรมได้กำหนดอัตราค่าปรับตามระยะ
เวลาที่ยื่นงบการเงิน หากยื่นงบการเงินล่าช้าอัตราค่าปรับก็จะเพิ่มขึ้น
หากมีข้อสงสัยประการใด สอบถามรายละเอียดได้ที่ Tel : 083-622-5555 , 084-622-5555
#รับปิดงบบริษัท #รับปิดงบหจก. #รับปิดงบปี2559 #รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา #รับยื่นภาษีร้านค้า #จดทะเบียนบริษัทเขต
.
วันจันทร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
#รับปิดงบปี2559
#รับปิดงบบริษัท #รับปิดงบหจก. #รับปิดงบปี2559 #รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา
"จะทราบหรือไม่ ? เกี่ยวกับอัตราค่าปรับ ยื่นงบล่าช้า ไม่ยื่นงบ ถามเราสิ ชลธี บริสซิเนส กรุ๊ป
ค่าปรับยื่นงบล่าช้า ไม่ยื่นงบ ค่าปรับอาญา เบี้ยปรับเงินเพิ่ม ค่าปรับภาษี ถามเราสิ ชล
• ค่าปรับ ยื่นงบล่าช้า ไม่ยื่นงบ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมสรรพากร ประกันสังคม
• ค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้าหรือไม่ได้ยื่นงบการเงิน
• ค่าปรับยื่นงบการเงินเกินกำหนดเวลาหรือไม่ได้ยื่นงบการเงิน จะมี 2 ส่วน คือ
1. ค่าปรับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ หรือ หมายเรียกตำรวจ (สำนักงานตำรวจแห่งชาติ) – กรณีมิได้ยื่นงบการเงิน
• ค่าปรับกรณีมิได้ยื่นงบการเงิน มีอายุความ 1 ปี นับจากวันที่ครบกำหนดยื่นงบการเงิน
• กรณีที่เป็นบริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด จะต้องจัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจำปี เพื่ออนุมัติงบการเงินภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นรอบบัญชี และจะต้องนำไปยื่นต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้าภายใน 1 เดือนนับจากวันประชุม
• ถ้าประชุมทันตามกำหนดภายใน 4 เดือน แต่นำส่งงบการเงินไม่ทันภายใน 1 เดือน จะถูกเรียกเก็บค่าปรับทั้งในส่วนของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี และกรรมการผู้จัดการ (ตามตารางข้างต้น)
• ถ้าประชุมเกินกำหนดเวลา ก็จะเป็นกรณี “ไม่นํางบดุลเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ภายใน 4 เดือน นับแต่ วันที่ลงในงบดุล” จะถูกเรียกเก็บค่าปรับทั้งในส่วนของบริษัท 6,000 บาท และกรรมการผู้มีอํานาจ โดยคำนวณตามจำนวนกรรมการที่ลงชื่อผูกพันบริษัทคนละ 6,000 บาท
• กรณีไม่นำส่งสำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) ซึ่งตามกฎหมายต้องส่งภายใน 14 วันนับจากวันประชุมใหญ่สามัญประจำปี ซึ่งหากมิได้นำส่งตามกำหนดดังกล่าวมีโทษเปรียบเทียบปรับกรรมการคนละ 2,000 บาท
2. ค่าปรับกรมสรรพากร
• ค่าปรับอาญายื่นแบบเกินกำหนด ไม่เกิน 2,000 บาท (ปกติต้องยื่นภงด.50 ภายใน 150 วันนับจากวันสิ้นรอบบัญชี)
• ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 1,000 บาท
• ยื่นแบบเกิน 7 วัน 2,000 บาท
• ค่าปรับอาญาไม่ยื่นงบการเงิน 2,000 บาท
• เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน) กรณีมีภาษีที่ต้องชำระ
• อายุความเปรียบเทียบปรับอาญา 1 ปี
รายละเอียดเกี่ยวกับการยื่นงบการเงิน
1. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ต้องยื่นงบการเงินภายใน 5 เดือน นับแต่วันสิ้นรอบบัญชี ดังนั้นงบการเงินที่มีรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี จะต้องยื่นภายในวันที่ 31 พฤษภาคมของปีถัดไป
2. บริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด ต้องจัดทำงบการเงินขึ้นเพื่อให้ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตตรวจสอบบัญชี แล้วจึงนำเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ โดยจะต้องจัดให้มีการประชุมเพื่ออนุมัติงบการเงินภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นรอบบัญชี ดังนั้น รอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคมของทุกปี จะต้องจัดประชุมภายในวันที่ 30 เมษายน ของปีถัดไป (มิฉะนั้นจะมีความผิดโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท)
**งบการเงินที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่แล้ว จะต้องนำไปยื่นภายใน 1 เดือนนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่
ยกตัวอย่างเช่น
– ประชุมเมื่อวันที่ 28 กุมพาพันธ์ จะต้องนำไปยื่นภายในวันที่ 31 มีนาคม
– ประชุมเมื่อวันที่ 7 มีนาคม จะต้องนำไปยื่นภายในวันที่ 7 เมษายน
***** คำเตือน *****
** ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ไม่ยื่นงบการเงินหรือยื่นล่าช้าเกินกำหนดเวลามีโทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท และปรับผู้มีอำนาจทำการแทนกิจการอีกไม่เกิน 50,000 บาทด้วย ทั้งนี้ กรมฯ ได้กำหนดอัตราค่าปรับตามระยะเวลาที่ยื่นงบการเงิน หากยื่นงบการเงินล่าช้า อัตราค่าปรับก็จะเพิ่มขึ้น **
ค่าปรับ เงินเพิ่ม ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภงด.50, ภงด.51)
กรณียื่นเกินกำหนดเวลา
• ค่าปรับอาญา กรณียื่นภายใน 7 วัน ค่าปรับแบบ 1,000 บาท
• ค่าปรับอาญา กรณียื่นเกิน 7 วัน ค่าปรับแบบ 2,000 บาท
• ค่าปรับอาญา กรณียื่นงบการเงินเกินกำหนดเวลา ค่าปรับ 2,000 บาท
• เงินเพิ่ม คำนวณจากยอดต้องชำระ (ถ้ามี) * 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)
• **กรณียื่นแบบ ภงด.50 จะต้องยื่นพร้อมงบการเงิน แนบประกอบการยื่นแบบดังกล่าว**
ค่าปรับ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)
กรณียื่นเกินกำหนดเวลา
1. ค่าปรับอาญา (จะต้องชำระเป็นเงินสดเท่านั้น)
• ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน ค่าปรับแบบ 300 บาท
• ยื่นแบบเกิน 7 วัน ค่าปรับแบบ 500 บาท
2. เงินเพิ่ม
• ไม่ชำระภาษีหรือนำส่งภาษีภายในกำหนด
• เสียเงินเพิ่ม 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนคิดเป็น 1 เดือน) ไม่รวมเบี้ยปรับ
• อธิบดีอนุมัติให้ขยายเวลา ให้ลดเหลือ 0.75% ต่อเดือน (เศษของเดือนคิดเป็น 1 เดือน)
• เริ่มนับเมื่อพ้นเวลายื่นแบบฯ ถึงวันชำระ
• เงินเพิ่มต้องไม่เกินจำนวนภาษี
• หากไม่มียอดภาษีต้องชำระ ก็ไม่ต้องชำระเงินเพิ่ม
3. ค่าเบี้ยปรับ
• ประกอบกิจการโดยมิได้จดทะเบียน เบี้ยปรับ 2 เท่า หรือเงิน 1 พันบาทต่อเดือน แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า
• มิได้ยื่นแบบฯ ภายในกำหนดเวลา เบี้ยปรับ 2 เท่า
• ยื่นแบบฯ ไม่ถูกต้อง เป็นเหตุให้จำนวนภาษีที่จะต้องเสียคลาดเคลื่อนไป เบี้ยปรับ 1 เท่า
• ยื่นแบบฯ ไม่ถูกต้อง เป็นเหตุให้ภาษีขายหรือภาษีซื้อคลาดเคลื่อนไป เบี้ยปรับ 1 เท่า
• กรณีผู้เสียภาษีได้ยื่นแบบฯ โดยไม่ได้รับคำเตือนหรือคำเรียกตรวจสอบไต่สวนเป็นหนังสือ ตามกรณีที่กล่าวมาข้างต้น ให้ลดเบี้ยปรับลง คงเสียดังนี้
• มิได้จัดทำใบกำกับภาษี และส่งมอบให้กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ เบี้ยปรับ 2 เท่า
• ออกใบกำกับภาษี โดยไม่มีสิทธิที่จะออก เบี้ยปรับ 2 เท่า
• นำใบกำกับภาษีปลอมมาใช้ เบี้ยปรับ 2 เท่า
• มิได้เก็บสำเนาใบกำกับภาษีขาย เบี้ยปรับ 2% ของภาษีตามใบกำกับ
• มิได้เก็บใบกำกับภาษีซื้อที่ใช้เครดิตภาษี เบี้ยปรับ 2% ของภาษีที่นำมาเครดิต
• มิได้ทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด หรือมีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ เบี้ยปรับ 2 เท่า
ค่าปรับ เงินเพิ่ม ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ภงด.1,2,3,53,54)
กรณียื่นเกินกำหนดเวลา
1. ค่าปรับอาญา (ชำระเป็นเงินสดเท่านั้น)
– ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 100 บาท
– ยื่นแบบเกิน 7 วัน 200 บาท
2. เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน
ค่าปรับ เงินเพิ่ม ภาษีเงิน
#รับปิดงบบริษัท #รับปิดงบหจก. #รับปิดงบปี2559 #รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา #รับยื่นภาษีร้านค้า #จดทะเบียนบริษัทเขต
"จะทราบหรือไม่ ? เกี่ยวกับอัตราค่าปรับ ยื่นงบล่าช้า ไม่ยื่นงบ ถามเราสิ ชลธี บริสซิเนส กรุ๊ป
ค่าปรับยื่นงบล่าช้า ไม่ยื่นงบ ค่าปรับอาญา เบี้ยปรับเงินเพิ่ม ค่าปรับภาษี ถามเราสิ ชล
• ค่าปรับ ยื่นงบล่าช้า ไม่ยื่นงบ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมสรรพากร ประกันสังคม
• ค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้าหรือไม่ได้ยื่นงบการเงิน
• ค่าปรับยื่นงบการเงินเกินกำหนดเวลาหรือไม่ได้ยื่นงบการเงิน จะมี 2 ส่วน คือ
1. ค่าปรับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ หรือ หมายเรียกตำรวจ (สำนักงานตำรวจแห่งชาติ) – กรณีมิได้ยื่นงบการเงิน
• ค่าปรับกรณีมิได้ยื่นงบการเงิน มีอายุความ 1 ปี นับจากวันที่ครบกำหนดยื่นงบการเงิน
• กรณีที่เป็นบริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด จะต้องจัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจำปี เพื่ออนุมัติงบการเงินภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นรอบบัญชี และจะต้องนำไปยื่นต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้าภายใน 1 เดือนนับจากวันประชุม
• ถ้าประชุมทันตามกำหนดภายใน 4 เดือน แต่นำส่งงบการเงินไม่ทันภายใน 1 เดือน จะถูกเรียกเก็บค่าปรับทั้งในส่วนของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี และกรรมการผู้จัดการ (ตามตารางข้างต้น)
• ถ้าประชุมเกินกำหนดเวลา ก็จะเป็นกรณี “ไม่นํางบดุลเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ภายใน 4 เดือน นับแต่ วันที่ลงในงบดุล” จะถูกเรียกเก็บค่าปรับทั้งในส่วนของบริษัท 6,000 บาท และกรรมการผู้มีอํานาจ โดยคำนวณตามจำนวนกรรมการที่ลงชื่อผูกพันบริษัทคนละ 6,000 บาท
• กรณีไม่นำส่งสำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) ซึ่งตามกฎหมายต้องส่งภายใน 14 วันนับจากวันประชุมใหญ่สามัญประจำปี ซึ่งหากมิได้นำส่งตามกำหนดดังกล่าวมีโทษเปรียบเทียบปรับกรรมการคนละ 2,000 บาท
2. ค่าปรับกรมสรรพากร
• ค่าปรับอาญายื่นแบบเกินกำหนด ไม่เกิน 2,000 บาท (ปกติต้องยื่นภงด.50 ภายใน 150 วันนับจากวันสิ้นรอบบัญชี)
• ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 1,000 บาท
• ยื่นแบบเกิน 7 วัน 2,000 บาท
• ค่าปรับอาญาไม่ยื่นงบการเงิน 2,000 บาท
• เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน) กรณีมีภาษีที่ต้องชำระ
• อายุความเปรียบเทียบปรับอาญา 1 ปี
รายละเอียดเกี่ยวกับการยื่นงบการเงิน
1. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ต้องยื่นงบการเงินภายใน 5 เดือน นับแต่วันสิ้นรอบบัญชี ดังนั้นงบการเงินที่มีรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี จะต้องยื่นภายในวันที่ 31 พฤษภาคมของปีถัดไป
2. บริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด ต้องจัดทำงบการเงินขึ้นเพื่อให้ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตตรวจสอบบัญชี แล้วจึงนำเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ โดยจะต้องจัดให้มีการประชุมเพื่ออนุมัติงบการเงินภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นรอบบัญชี ดังนั้น รอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคมของทุกปี จะต้องจัดประชุมภายในวันที่ 30 เมษายน ของปีถัดไป (มิฉะนั้นจะมีความผิดโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท)
**งบการเงินที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่แล้ว จะต้องนำไปยื่นภายใน 1 เดือนนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่
ยกตัวอย่างเช่น
– ประชุมเมื่อวันที่ 28 กุมพาพันธ์ จะต้องนำไปยื่นภายในวันที่ 31 มีนาคม
– ประชุมเมื่อวันที่ 7 มีนาคม จะต้องนำไปยื่นภายในวันที่ 7 เมษายน
***** คำเตือน *****
** ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ไม่ยื่นงบการเงินหรือยื่นล่าช้าเกินกำหนดเวลามีโทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท และปรับผู้มีอำนาจทำการแทนกิจการอีกไม่เกิน 50,000 บาทด้วย ทั้งนี้ กรมฯ ได้กำหนดอัตราค่าปรับตามระยะเวลาที่ยื่นงบการเงิน หากยื่นงบการเงินล่าช้า อัตราค่าปรับก็จะเพิ่มขึ้น **
ค่าปรับ เงินเพิ่ม ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภงด.50, ภงด.51)
กรณียื่นเกินกำหนดเวลา
• ค่าปรับอาญา กรณียื่นภายใน 7 วัน ค่าปรับแบบ 1,000 บาท
• ค่าปรับอาญา กรณียื่นเกิน 7 วัน ค่าปรับแบบ 2,000 บาท
• ค่าปรับอาญา กรณียื่นงบการเงินเกินกำหนดเวลา ค่าปรับ 2,000 บาท
• เงินเพิ่ม คำนวณจากยอดต้องชำระ (ถ้ามี) * 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)
• **กรณียื่นแบบ ภงด.50 จะต้องยื่นพร้อมงบการเงิน แนบประกอบการยื่นแบบดังกล่าว**
ค่าปรับ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30)
กรณียื่นเกินกำหนดเวลา
1. ค่าปรับอาญา (จะต้องชำระเป็นเงินสดเท่านั้น)
• ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน ค่าปรับแบบ 300 บาท
• ยื่นแบบเกิน 7 วัน ค่าปรับแบบ 500 บาท
2. เงินเพิ่ม
• ไม่ชำระภาษีหรือนำส่งภาษีภายในกำหนด
• เสียเงินเพิ่ม 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนคิดเป็น 1 เดือน) ไม่รวมเบี้ยปรับ
• อธิบดีอนุมัติให้ขยายเวลา ให้ลดเหลือ 0.75% ต่อเดือน (เศษของเดือนคิดเป็น 1 เดือน)
• เริ่มนับเมื่อพ้นเวลายื่นแบบฯ ถึงวันชำระ
• เงินเพิ่มต้องไม่เกินจำนวนภาษี
• หากไม่มียอดภาษีต้องชำระ ก็ไม่ต้องชำระเงินเพิ่ม
3. ค่าเบี้ยปรับ
• ประกอบกิจการโดยมิได้จดทะเบียน เบี้ยปรับ 2 เท่า หรือเงิน 1 พันบาทต่อเดือน แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า
• มิได้ยื่นแบบฯ ภายในกำหนดเวลา เบี้ยปรับ 2 เท่า
• ยื่นแบบฯ ไม่ถูกต้อง เป็นเหตุให้จำนวนภาษีที่จะต้องเสียคลาดเคลื่อนไป เบี้ยปรับ 1 เท่า
• ยื่นแบบฯ ไม่ถูกต้อง เป็นเหตุให้ภาษีขายหรือภาษีซื้อคลาดเคลื่อนไป เบี้ยปรับ 1 เท่า
• กรณีผู้เสียภาษีได้ยื่นแบบฯ โดยไม่ได้รับคำเตือนหรือคำเรียกตรวจสอบไต่สวนเป็นหนังสือ ตามกรณีที่กล่าวมาข้างต้น ให้ลดเบี้ยปรับลง คงเสียดังนี้
• มิได้จัดทำใบกำกับภาษี และส่งมอบให้กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ เบี้ยปรับ 2 เท่า
• ออกใบกำกับภาษี โดยไม่มีสิทธิที่จะออก เบี้ยปรับ 2 เท่า
• นำใบกำกับภาษีปลอมมาใช้ เบี้ยปรับ 2 เท่า
• มิได้เก็บสำเนาใบกำกับภาษีขาย เบี้ยปรับ 2% ของภาษีตามใบกำกับ
• มิได้เก็บใบกำกับภาษีซื้อที่ใช้เครดิตภาษี เบี้ยปรับ 2% ของภาษีที่นำมาเครดิต
• มิได้ทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด หรือมีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ เบี้ยปรับ 2 เท่า
ค่าปรับ เงินเพิ่ม ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ภงด.1,2,3,53,54)
กรณียื่นเกินกำหนดเวลา
1. ค่าปรับอาญา (ชำระเป็นเงินสดเท่านั้น)
– ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 100 บาท
– ยื่นแบบเกิน 7 วัน 200 บาท
2. เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน
ค่าปรับ เงินเพิ่ม ภาษีเงิน
#รับปิดงบบริษัท #รับปิดงบหจก. #รับปิดงบปี2559 #รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา #รับยื่นภาษีร้านค้า #จดทะเบียนบริษัทเขต
#รับปิดงบหจก.
#รับปิดงบบริษัท #รับปิดงบหจก. #รับปิดงบปี2559 #รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา #รับยื่นภาษีร้านค้า
"ตัวคุณเก่งอย่างเดียวไม่ได้" ถ้าคุณไม่รู้การปิดงบการเงิน สำหรับนิติบุคคล ถามเราสิ ชลธี บริสซิเนส กรุ๊ป พร้อมให้คำปรึกษา
นิติบุคคลไม่ว่าจะเป็นบริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วนจำกัด มีหน้าที่ต้องปิดงบการเงินอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และจัดหาผู้ทำบัญชี และผู้ตรวจสอบบัญชี เพื่อส่งงบการเงินให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้แก่ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมสรรพากร ถ้าหากไม่ส่งงบการเงินจะต้องมีโทษปรับตามกฎหมาย
สำหรับบริษัทที่มีเจ้าหน้าที่บัญชีประจำบริษัทอยู่แล้วปัญหาการปิดงบดูจะเป็นเรื่องง่าย เนื่องจากมีการจัดทำบัญชีอยู่แล้วทุกเดือน เพียงแต่ปิดงบการเงินและจัดหาผู้สอบบัญชีมาเซ็นชื่อรับรองงบการเงิน แต่สำหรับกิจการที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้มีเจ้าหน้าที่บัญชีประจำอยู่ที่บริษัทมักจะเป็นปัญหาใหญ่เลยทีเดียว บทความนี้จะช่วยให้ผู้ที่เป็นเจ้าของเข้าใจขั้นตอนการปิดบัญชีและจัดทำงบการเงินได้ง่ายขึ้น
ขั้นตอนปิดงบการเงิน สำหรับกิจการที่ไม่เคยบันทึกบัญชีเลยทั้งปี มีดังนี้
1. รวมรวบเอกสารรายการค้าทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นบิลขาย และบิลซื้อ สำหรับบิลขายให้เจ้าของกิจการเรียงลำดับตามเลขที่เอกสาร เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบว่าเอกสารมีอยู่ครบถ้วนหรือไม่ และสำหรับบิลซื้อให้จัดประเภทของบิลเช่น ซื้อสินค้า, ค่าสาธารณูปโภค, ค่าน้ำมัน, ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด
2. กรณีที่บริษัทจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องมีรายงานภาษีซื้อ-ภาษีขาย นำเอกสารบิลซื้อ และบิลขายมาแนบกับรายงานภาษีซื้อ-ขายให้ครบถ้วน
3. ตรวจสอบ Bank statement ให้ครบถ้วนว่าบริษัทของเราขาดเดือนไหนหรือไม่ ถ้าขาดจะต้องของธนาคารมาให้ครบ
4. เมื่อเราจัดเอกสารเรียบร้อยครบถ้วน ให้มองหาสำนักงานบัญชีที่เชื่อใจได้ จัดทำบัญชีให้ และจำไว้ว่าสำนักงานที่ทำบัญชีราคาถูก ไม่จำเป็นจะต้องดีเสมอไปเพราะคุณภาพการบันทึกบัญชีอาจจะไม่ดี แต่การจัดเอกสารที่เรียบร้อยของเราจะเป็นตัวต่อรองสำนักงานบัญชีให้คิดค่าบริการเราถูกได้เนื่องจากเอกสารเราครบและดูง่ายเป็นระเบียบ
5. เมื่อสำนักงานบัญชีบันทึกบัญชีให้คุณเสร็จเรียบร้อยออกมาเป็นงบการเงินแล้ว สิ่งที่เจ้าของกิจการส่วนใหญ่จะลืมก็คือการขอข้อมูลที่สำนักงานบัญชีบันทึกบัญชีประกอบไปด้วย สมุดรายวันแยกประเภท (G/L) ทะเบียนทรัพย์สิน สมุดรายวันรับ สมุดรายวันจ่าย สมุดรายวันทั่วไป เพราะเราไม่สามารถรู้ได้ว่าปีต่อไปเราจะจ้างเค้าต่อหรือไม่ หรือสำนักงานบัญชีอาจจะปิดตัวไป สำนักงานบัญชีที่ใหม่ถ้าไม่ได้ข้อมูลการบันทึกบัญชีที่เก่าอาจจะยากในการทำงานต่อ
ข้อสำคัญคือ งบการเงินจะต้องส่งให้กรมสรรพากร และกรมพัฒนาธุรกิจการค้าภายใน 150 วัน นับจากวันสินรอบระยะเวลาบัญชี
#รับปิดงบบริษัท #รับปิดงบหจก. #รับปิดงบปี2559 #รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา #รับยื่นภาษีร้านค้า #จดทะเบียนบริษัทเขต
"ตัวคุณเก่งอย่างเดียวไม่ได้" ถ้าคุณไม่รู้การปิดงบการเงิน สำหรับนิติบุคคล ถามเราสิ ชลธี บริสซิเนส กรุ๊ป พร้อมให้คำปรึกษา
นิติบุคคลไม่ว่าจะเป็นบริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วนจำกัด มีหน้าที่ต้องปิดงบการเงินอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และจัดหาผู้ทำบัญชี และผู้ตรวจสอบบัญชี เพื่อส่งงบการเงินให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้แก่ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมสรรพากร ถ้าหากไม่ส่งงบการเงินจะต้องมีโทษปรับตามกฎหมาย
สำหรับบริษัทที่มีเจ้าหน้าที่บัญชีประจำบริษัทอยู่แล้วปัญหาการปิดงบดูจะเป็นเรื่องง่าย เนื่องจากมีการจัดทำบัญชีอยู่แล้วทุกเดือน เพียงแต่ปิดงบการเงินและจัดหาผู้สอบบัญชีมาเซ็นชื่อรับรองงบการเงิน แต่สำหรับกิจการที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้มีเจ้าหน้าที่บัญชีประจำอยู่ที่บริษัทมักจะเป็นปัญหาใหญ่เลยทีเดียว บทความนี้จะช่วยให้ผู้ที่เป็นเจ้าของเข้าใจขั้นตอนการปิดบัญชีและจัดทำงบการเงินได้ง่ายขึ้น
ขั้นตอนปิดงบการเงิน สำหรับกิจการที่ไม่เคยบันทึกบัญชีเลยทั้งปี มีดังนี้
1. รวมรวบเอกสารรายการค้าทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นบิลขาย และบิลซื้อ สำหรับบิลขายให้เจ้าของกิจการเรียงลำดับตามเลขที่เอกสาร เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบว่าเอกสารมีอยู่ครบถ้วนหรือไม่ และสำหรับบิลซื้อให้จัดประเภทของบิลเช่น ซื้อสินค้า, ค่าสาธารณูปโภค, ค่าน้ำมัน, ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด
2. กรณีที่บริษัทจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องมีรายงานภาษีซื้อ-ภาษีขาย นำเอกสารบิลซื้อ และบิลขายมาแนบกับรายงานภาษีซื้อ-ขายให้ครบถ้วน
3. ตรวจสอบ Bank statement ให้ครบถ้วนว่าบริษัทของเราขาดเดือนไหนหรือไม่ ถ้าขาดจะต้องของธนาคารมาให้ครบ
4. เมื่อเราจัดเอกสารเรียบร้อยครบถ้วน ให้มองหาสำนักงานบัญชีที่เชื่อใจได้ จัดทำบัญชีให้ และจำไว้ว่าสำนักงานที่ทำบัญชีราคาถูก ไม่จำเป็นจะต้องดีเสมอไปเพราะคุณภาพการบันทึกบัญชีอาจจะไม่ดี แต่การจัดเอกสารที่เรียบร้อยของเราจะเป็นตัวต่อรองสำนักงานบัญชีให้คิดค่าบริการเราถูกได้เนื่องจากเอกสารเราครบและดูง่ายเป็นระเบียบ
5. เมื่อสำนักงานบัญชีบันทึกบัญชีให้คุณเสร็จเรียบร้อยออกมาเป็นงบการเงินแล้ว สิ่งที่เจ้าของกิจการส่วนใหญ่จะลืมก็คือการขอข้อมูลที่สำนักงานบัญชีบันทึกบัญชีประกอบไปด้วย สมุดรายวันแยกประเภท (G/L) ทะเบียนทรัพย์สิน สมุดรายวันรับ สมุดรายวันจ่าย สมุดรายวันทั่วไป เพราะเราไม่สามารถรู้ได้ว่าปีต่อไปเราจะจ้างเค้าต่อหรือไม่ หรือสำนักงานบัญชีอาจจะปิดตัวไป สำนักงานบัญชีที่ใหม่ถ้าไม่ได้ข้อมูลการบันทึกบัญชีที่เก่าอาจจะยากในการทำงานต่อ
ข้อสำคัญคือ งบการเงินจะต้องส่งให้กรมสรรพากร และกรมพัฒนาธุรกิจการค้าภายใน 150 วัน นับจากวันสินรอบระยะเวลาบัญชี
#รับปิดงบบริษัท #รับปิดงบหจก. #รับปิดงบปี2559 #รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา #รับยื่นภาษีร้านค้า #จดทะเบียนบริษัทเขต
#รับปิดงบบริษัท
#รับปิดงบบริษัท #รับปิดงบหจก. #รับปิดงบปี2559 #รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา #รับยื่นภาษีร้านค้า
#"การตัดสินใจของคุณนั้นก็สำคัญกว่าความสามารถ" เรา "ชลธี บริสซิเนส กรุ๊ป" ยินบริการปิดงบรายเดือน, #ปิดงบรายปี
กิจการทุกกิจการที่ #จดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลฯ นั้นต้องปิดงบการเงินอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ( จำนวนวันไม่เกิน 365 วัน) เพื่อนำส่งต่อหน่วยงานราชการที่กำกับดูแล ซึ่งหลักๆก็จะมีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพานิชย์ (กำหนดให้บริษัทฯและห้างหุ้นส่วนฯนำส่งงบการเงินภายใน 5 เดือนนับจากวันสิ้นรอบและกำหนดให้บริษัทฯต้องจัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปีไม่เกิน 120 วันนับจากวันสิ้นรอบ หากบริษัทฯและห้างหุ้นส่วนฯไม่จัดให้มีการประชุมดังกล่าว หรือยื่นงบเลยกำหนดเวลา จักมีระวางโทษและเสียค่าปรับตามที่กฎหมายกำหนด) , และในส่วนกรมสรรพากรนั้นกำหนดให้ บริษัทฯ ห้างหุ้นส่วนฯ และนิติบุคคลอื่นฯที่ตั้งตามกฎหมายไทย หรือตั้งตามกฎหมายต่างประเทศแต่ประกอบกิจการในไทยต้องนำส่งงบการเงินพร้อมทั้งชำระภาษีเงินได้นิติบุคคล(ถ้ามี)ภายใน 150 วันนับจากวันสิ้นรอบ ซึ่งหากกิจการไม่นำส่งภายในกำหนดเวลาจะมีค่าปรับ
ทั้งนี้กิจการบางแห่งมีพนักงานฝ่ายบัญชีที่สามารถจัดทำเอกสารบัญชีเบื้องต้นและยื่นภาษีได้อยู่แล้ว กิจการอาจต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีมาปิดงบการเงินให้เพื่อให้มั่นใจว่างบการเงินของท่านถูกต้อง งบการเงินของท่านบันทึกบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป รวมถึงช่วยท่านสอบทานการยื่นภาษีรายเดือนว่าถูกต้องตามประมาลรัษฎากรหรือไม่ อีกทั้งเป็นที่ปรึกษาด้านบัญชีของท่านว่าเอกสารทางบัญชีและภาษีที่ท่านมีถูกต้อง ใช้ได้ตามที่สรรพากรกำหนดหรือไม่ เราสามารถช่วยท่านดูแลได้โดยที่ท่านไม่ต้องจ่ายเงินจ้างสมุหบัญชีเดือนละแพงๆเลยทีเดียว
ท่านผู้ประกอบการที่ยื่นภาษีรายเดือนเอง แต่ต้องการผู้รับผิดชอบปิดงบการเงินให้เพื่อให้ทราบผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของกิจการของท่านว่ากำไร/ขาดทุนเป็นอย่างไร และกิจการแข็งแรงเพียงใด , เพื่อนำส่งต่อหน่วยงานราชการ ไม่ว่าจะเป็นกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ หรือกรมสรรพากร หรือเพื่อประกอบการขอสินเชื่อจากธนาคาร ฯลฯ ไม่ว่าจะเป็นการปิดงบรายเดือน หรืองบรายปี
ทั้งนี้ "หากท่านยื่นภาษีรายเดือนเองและต้องการให้ บริษัท ควิกแอคเคาท์ติ้ง จำกัด ปิดบัญชีรายปีให้ เรามี บริการปิดงบการเงินและยื่นแบบประจำปี " ซึ่งมีขอบเขตงานดังนี้
1. สอบทานแบบภาษีที่บริษัทฯนำส่งสรรพากรรายเดือน พร้อมจัดทำแบบภาษีเพิ่มเติม (ถ้าท่านยื่นแบบไว้ไม่ครบถ้วน)
2. ตรวจทานการนำส่งภาษีเงินได้พนักงาน หัก ณ ที่จ่ายจากเงินเดือน (ภงด.1) , ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย (ภงด.3) , ภาษีเงินได้นิติบุคคล หัก ณ ที่จ่าย (ภงด.53) , ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30, ภพ.36) , รายงานภาษีซื้อ และภาษีขาย
3. จัดทำแบบภาษี ภงด.1 , ภงด.3 , ภงด.53 และ ภพ.30 กรณีที่มีการยื่นเพิ่มเติม
4. บันทึกบัญชี กระทบยอด วางแผนภาษี
5. กระทบยอดรายได้ตามการนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30, ภพ.36) กับรายได้เพื่อยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล
6. ปิดงบการเงินประจำปีซึ่งประกอบด้วยงบดุล งบกำไรขาดทุนและงบกำไรสะสม รายละเอียดลูกหนี้คงเหลือ รายละเอียดเจ้าหนี้คงค้าง รายละเอียดเช็คค้างรับ-จ่าย รายละเอียดทะเบียนสินทรัพย์ รายละเอียดเงินลงทุน รายละเอียดการผ่อนชำระเจ้าหนี้เช่าซื้อและเงินกู้ยืมสถาบันการเงิน และ รายละเอียดอื่น (ถ้ามี) - ตามประเภทกิจการ)
7. คำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปี พร้อมจัดทำและนำส่งแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปี (ภงด.50) ต่อกรมสรรพากร
8. จัดทำแบบ สบช.3 และยื่นต่อกระทรวงพาณิชย์
9. จัดทำบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) และยื่นต่อกระทรวงพาณิชย์
" เพียงท่านใช้บริการปิดงบการเงินรายเดือน หรือปิดงบรายปีกับเรา ท่านสามารถโทรปรึกษาปัญหาด้านภาษีได้ตลอดเวลา โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมแต่อย่างใด "
บริษัท ควิกแอคเคาท์ติ้ง จำกัด ยึดมั่นนโยบายการทำงานอย่างมีระบบ ตรงตามกำหนดเวลา
จัดเก็บระบบเอกสารเป็นระเบียบเรียบร้อย และ รักษาความลับของลูกค้า ลงบัญชีตามมาตรฐานการบัญชี ให้บริการงานที่มีคุณภาพซึ่งลูกค้าสามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา เราพร้อมให้คำปรึกษาและชี้แจงประเด็นปัญหาทางบัญชีและภาษีอากรที่ได้ตรวจพบจากเอกสารทางบัญชี" เราขอเรียนเชิญท่านผู้ประกอบการเข้ามาเยี่ยมสำนักงานของเราและรับคำปรึกษาเรื่องต่าง ๆ ฟรี! โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น ก่อนที่ท่านจะตัดสินใจเลือก “ผู้ทำบัญชี” ที่มีความเชี่ยวชาญ มีความซื่อสัตย์ มีประสบการณ์ตรงในวิชาชีพบัญชี และมีความรับผิดชอบต่อกิจการของท่านอย่างแท้จริง
ค่า #บริการปิดงบการเงิน เริ่มต้นเพียง 9,000 บาท/ปี โทรหาเราเพื่อรับคำปรึกษาฟรี! วันนี้ที่ ควิกแอคเคาท์ติ้ง Tel : 083-622-5555 , 084-622-5555
"วิเคราะห์ ออกแบบ แก้ไข ใส่ใจทุกรายละเอียด คือหัวใจของเรา"
บริษัท #ควิกแอคเคาท์ติ้ง จำกัด ขอขอบคุณและยินดีให้บริการ
โทรหาเรา ปรึกษาฟรี! ไม่มีค่าใช้จ่ายค่ะ
#รับปิดงบบริษัท #รับปิดงบหจก. #รับปิดงบปี2559 #รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา #รับยื่นภาษีร้านค้า #จดทะเบียนบริษัทเขต
#"การตัดสินใจของคุณนั้นก็สำคัญกว่าความสามารถ" เรา "ชลธี บริสซิเนส กรุ๊ป" ยินบริการปิดงบรายเดือน, #ปิดงบรายปี
กิจการทุกกิจการที่ #จดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลฯ นั้นต้องปิดงบการเงินอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ( จำนวนวันไม่เกิน 365 วัน) เพื่อนำส่งต่อหน่วยงานราชการที่กำกับดูแล ซึ่งหลักๆก็จะมีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพานิชย์ (กำหนดให้บริษัทฯและห้างหุ้นส่วนฯนำส่งงบการเงินภายใน 5 เดือนนับจากวันสิ้นรอบและกำหนดให้บริษัทฯต้องจัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปีไม่เกิน 120 วันนับจากวันสิ้นรอบ หากบริษัทฯและห้างหุ้นส่วนฯไม่จัดให้มีการประชุมดังกล่าว หรือยื่นงบเลยกำหนดเวลา จักมีระวางโทษและเสียค่าปรับตามที่กฎหมายกำหนด) , และในส่วนกรมสรรพากรนั้นกำหนดให้ บริษัทฯ ห้างหุ้นส่วนฯ และนิติบุคคลอื่นฯที่ตั้งตามกฎหมายไทย หรือตั้งตามกฎหมายต่างประเทศแต่ประกอบกิจการในไทยต้องนำส่งงบการเงินพร้อมทั้งชำระภาษีเงินได้นิติบุคคล(ถ้ามี)ภายใน 150 วันนับจากวันสิ้นรอบ ซึ่งหากกิจการไม่นำส่งภายในกำหนดเวลาจะมีค่าปรับ
ทั้งนี้กิจการบางแห่งมีพนักงานฝ่ายบัญชีที่สามารถจัดทำเอกสารบัญชีเบื้องต้นและยื่นภาษีได้อยู่แล้ว กิจการอาจต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีมาปิดงบการเงินให้เพื่อให้มั่นใจว่างบการเงินของท่านถูกต้อง งบการเงินของท่านบันทึกบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป รวมถึงช่วยท่านสอบทานการยื่นภาษีรายเดือนว่าถูกต้องตามประมาลรัษฎากรหรือไม่ อีกทั้งเป็นที่ปรึกษาด้านบัญชีของท่านว่าเอกสารทางบัญชีและภาษีที่ท่านมีถูกต้อง ใช้ได้ตามที่สรรพากรกำหนดหรือไม่ เราสามารถช่วยท่านดูแลได้โดยที่ท่านไม่ต้องจ่ายเงินจ้างสมุหบัญชีเดือนละแพงๆเลยทีเดียว
ท่านผู้ประกอบการที่ยื่นภาษีรายเดือนเอง แต่ต้องการผู้รับผิดชอบปิดงบการเงินให้เพื่อให้ทราบผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของกิจการของท่านว่ากำไร/ขาดทุนเป็นอย่างไร และกิจการแข็งแรงเพียงใด , เพื่อนำส่งต่อหน่วยงานราชการ ไม่ว่าจะเป็นกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ หรือกรมสรรพากร หรือเพื่อประกอบการขอสินเชื่อจากธนาคาร ฯลฯ ไม่ว่าจะเป็นการปิดงบรายเดือน หรืองบรายปี
ทั้งนี้ "หากท่านยื่นภาษีรายเดือนเองและต้องการให้ บริษัท ควิกแอคเคาท์ติ้ง จำกัด ปิดบัญชีรายปีให้ เรามี บริการปิดงบการเงินและยื่นแบบประจำปี " ซึ่งมีขอบเขตงานดังนี้
1. สอบทานแบบภาษีที่บริษัทฯนำส่งสรรพากรรายเดือน พร้อมจัดทำแบบภาษีเพิ่มเติม (ถ้าท่านยื่นแบบไว้ไม่ครบถ้วน)
2. ตรวจทานการนำส่งภาษีเงินได้พนักงาน หัก ณ ที่จ่ายจากเงินเดือน (ภงด.1) , ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย (ภงด.3) , ภาษีเงินได้นิติบุคคล หัก ณ ที่จ่าย (ภงด.53) , ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30, ภพ.36) , รายงานภาษีซื้อ และภาษีขาย
3. จัดทำแบบภาษี ภงด.1 , ภงด.3 , ภงด.53 และ ภพ.30 กรณีที่มีการยื่นเพิ่มเติม
4. บันทึกบัญชี กระทบยอด วางแผนภาษี
5. กระทบยอดรายได้ตามการนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30, ภพ.36) กับรายได้เพื่อยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล
6. ปิดงบการเงินประจำปีซึ่งประกอบด้วยงบดุล งบกำไรขาดทุนและงบกำไรสะสม รายละเอียดลูกหนี้คงเหลือ รายละเอียดเจ้าหนี้คงค้าง รายละเอียดเช็คค้างรับ-จ่าย รายละเอียดทะเบียนสินทรัพย์ รายละเอียดเงินลงทุน รายละเอียดการผ่อนชำระเจ้าหนี้เช่าซื้อและเงินกู้ยืมสถาบันการเงิน และ รายละเอียดอื่น (ถ้ามี) - ตามประเภทกิจการ)
7. คำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปี พร้อมจัดทำและนำส่งแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปี (ภงด.50) ต่อกรมสรรพากร
8. จัดทำแบบ สบช.3 และยื่นต่อกระทรวงพาณิชย์
9. จัดทำบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) และยื่นต่อกระทรวงพาณิชย์
" เพียงท่านใช้บริการปิดงบการเงินรายเดือน หรือปิดงบรายปีกับเรา ท่านสามารถโทรปรึกษาปัญหาด้านภาษีได้ตลอดเวลา โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมแต่อย่างใด "
บริษัท ควิกแอคเคาท์ติ้ง จำกัด ยึดมั่นนโยบายการทำงานอย่างมีระบบ ตรงตามกำหนดเวลา
จัดเก็บระบบเอกสารเป็นระเบียบเรียบร้อย และ รักษาความลับของลูกค้า ลงบัญชีตามมาตรฐานการบัญชี ให้บริการงานที่มีคุณภาพซึ่งลูกค้าสามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา เราพร้อมให้คำปรึกษาและชี้แจงประเด็นปัญหาทางบัญชีและภาษีอากรที่ได้ตรวจพบจากเอกสารทางบัญชี" เราขอเรียนเชิญท่านผู้ประกอบการเข้ามาเยี่ยมสำนักงานของเราและรับคำปรึกษาเรื่องต่าง ๆ ฟรี! โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น ก่อนที่ท่านจะตัดสินใจเลือก “ผู้ทำบัญชี” ที่มีความเชี่ยวชาญ มีความซื่อสัตย์ มีประสบการณ์ตรงในวิชาชีพบัญชี และมีความรับผิดชอบต่อกิจการของท่านอย่างแท้จริง
ค่า #บริการปิดงบการเงิน เริ่มต้นเพียง 9,000 บาท/ปี โทรหาเราเพื่อรับคำปรึกษาฟรี! วันนี้ที่ ควิกแอคเคาท์ติ้ง Tel : 083-622-5555 , 084-622-5555
"วิเคราะห์ ออกแบบ แก้ไข ใส่ใจทุกรายละเอียด คือหัวใจของเรา"
บริษัท #ควิกแอคเคาท์ติ้ง จำกัด ขอขอบคุณและยินดีให้บริการ
โทรหาเรา ปรึกษาฟรี! ไม่มีค่าใช้จ่ายค่ะ
#รับปิดงบบริษัท #รับปิดงบหจก. #รับปิดงบปี2559 #รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา #รับยื่นภาษีร้านค้า #จดทะเบียนบริษัทเขต
ที่มาของบริษัท
บริษัท ชลธี บิสซิเนส กรุ๊ป จำกัด
ให้บริการ ด้านการจัดตั้งธุรกิจ รับจดทะเบียนบริษัททุกประเภท ทั่วไทย รับเป็นที่ปรึกษาด้านบัญชี ภาษี
ตรวจสอบภายใน เขียนแผนธุรกิจ การตลาด สื่อโฆษณา การเงิน แรงงาน กฎหมาย ด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์พร้อมด้วยบริการอย่างมีประสิทธิภาพ ราคาเป็นธรรมและซื่อสัตย์ตรงไปตรงมา
พิเศษ !!! สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่ส่วนลดพิเศษ!! จัดทำเว็บไซต์จาก
ปกติ 12,000 บาท เหลือเพียง 3,500 บาท
ฟรี !!! ระบบอีเมล์ภายใต้ชื่อโดเมนเนม
พิเศษ !!! ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี
ฟรี เว็บไซต์ สำหรับบริษัทพร้อมแนะนำการทำตลาดออนไลน์
ฟรี ออกแบบโลโก้บรษัท
ฟรี รูปแบบใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงินและเอกสารสำคัญอื่นๆ
ฟรี ขึ้นทะเบียน ระบบ E-FILING เพื่อใช้นำส่งงบการเงินกับกระทรวงพาณิชย์
ฟรี จดทะเบียน ภ.อ.01 เพื่อใช้ยื่นภาษีผ่าระบบออนไลน์
ฟรี จัดเตรียมเอกสารขึ้นทะเบียน E-GP (ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ)
ฟรี ที่ปรึกษาด้านการตลาดและบริหารธุรกิจ
ราคาค่าบริการ ยังไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ราคานี้ เป็นอัตรา บริการในกรุงเทพฯ ต่างจังหวัดโทรสอบถาม 02-914-7962 , 02-914-7963 , 02-914-7964
มือถือ 094-491-4333 , 095-793-7000 , 083-622-5555
ราคาอาจเปลี่ยนแปลงได้โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
ระยะเวลาดำเนินการโดยประมาณ(หลังจาก ลูกค้าส่งเอกสารและลงนามครบถ้วน)
จดทะเบียนบริษัทภาคกลาง
กำแพงเพชร : ชัยนาท : นครนายก : นครปฐม : นครสวรรค์ : นนทบุรี
: ปทุมธานี : พระนครศรีอยุธยา : พิจิตร : พิษณุโลก : เพชรบูรณ์ : ลพบุรี
: สมุทรปราการ : สมุทรสงคราม : สมุทรสาคร : สิงห์บุรี : สุโขทัย : สุพรรณบุรี
: สระบุรี : อ่างทอง : อุทัยธานี
จดทะเบียนบริษัทภาคใต้
กระบี่ : ชุมพร : ตรัง : นครศรีธรรมราช : นราธิวาส : ปัตตานี
: พังงา : พัทลุง : ภูเก็ต : ระนอง : สตูล : สงขลา: สุราษฎร์ธานี : ยะลา
จดทะเบียนบริษัทภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
อุดรธานี : กาฬสินธุ์ : ขอนแก่น : ชัยภูมิ : นครพนม : นครราชสีมา : บึงกาฬ
: บุรีรัมย์ : มหาสารคาม : มุกดาหาร : ยโสธร : ร้อยเอ็ด : เลย : สกลนคร
จดทะเบียนบริษัทภาคเหนือ
เชียงราย : เชียงใหม่ : น่าน : พะเยา : แพร่ : แม่ฮ่องสอน : ลำปาง : ลำพูน : อุตรดิตถ์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)